3. กำเนิดคณะแพทยศาสตร์ 2490-2499
2490 กำเนิดคณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ในช่วงแรกคณะแพทยฯ ไม่ได้มีอาคารเป็นของตัวเอง จึงได้อาศัยอาคารต่างๆ เหล่านี้ของโรงพยาบาลจุฬาฯ
และสภากาชาด ซึ่งแสดงให้เห็นได้ถึงการก่อตั้งของคณะที่มีข้อจำกัดอย่างมาก แต่อย่างไรตามเหล่าคณาจารย์
และนิสิตรุ่นบุกเบิกก็สามารถฝ่าฟันอุปสรรคในช่วงดังกล่าวไปได้และพัฒนาคณะมาได้จนทุกวันนี้
อาคารยุคเริ่มต้นเมื่อเปิดคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ก. เรือน ก. กองอาสากาชาด (ก่อน 2475) ใช้เป็นหอพักแพทย์ชาย
ข. เรือนพิพิธภัณฑ์เก่าหรือพิพิธภัณฑ์กาชาดชั้นล่างใช้เรียนมหากายวิภาควิทยา / ชั้นบนเป็นสโมสรนิสิต
อันเป็นจุดกำเนิดวงดนตรีแพทยจุฬาฯ ภาพการเปิดเรียนวันแรกถ่ายที่หน้าตึกนี้
ค1. ตึกสายหยุด บุนนาค (2470) ใช้เป็นห้องพักอาจารย์และที่ทำงาน
ค2. ตึกพระยาไพบูลย์สมบัติ (2473)ใช้เป็นที่พักผู้ป่วย
ง. ตึกผ่าศพ (2461)ใช้เก็บศพและตรวจศพ
จ. โรงเรียนการพยาบาล (ตึกคณะแพทยศาสตร์) (2488) เดิมติดตรามหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ต่อมาเมื่อ
คณะแพทยศาสตร์ ได้โอนมาสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงได้เปลี่ยนเป็นตราพระเกี้ยวปัจจุบัน
คือตึกอานันทมหิดลใช้เป็นห้องบรรยาย, ห้องพักอาจารย์และสำนักงาน
2490-2499 การพัฒนาของคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นับจากการก่อตั้งคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยอย่างเป็นทางการ ในปี 2490 โรงพยาบาลและคณะแพทยศาสตร์
ก็มีการสร้างอาคารอื่นๆ ตามมาอีก ซึ่งนับได้ว่าคณะแพทยศาสตร์ได้ถูกก่อตั้งเป็นรูปเป็นร่างอย่างสมบูรณ์ในช่วงนี้
- ตึกเจ้าจอมเอิบ เปิด พ.ศ. 2492
- ตึกสุภาสจันทรโบ๊ส เปิด พ.ศ. 2492
- ตึกพยาธิวิทยา เปิด พ.ศ. 2493
- ตึกกายวิภาคศาสตร์ เปิด พ.ศ. 2496 (ปัจจุบันคือตึกแพทยพัฒน์)
- เรือนไม้หอพักนักศึกษาแพทย์ชาย เปิด พ.ศ. 2497
- เรือนไม้หอพักนักศึกษาแพทย์หญิง เปิด พ.ศ. 2498
- ตึกหอพักนักศึกษาแพทย์หญิง เปิด พ.ศ. 2500
- โรงอาหารคณะหลังใหม่
- โรงอาหารโรงพยาบาล
- อาคารหอพักแพทย์หญิงและชาย
กลับ
ในช่วงแรกคณะแพทยฯ ไม่ได้มีอาคารเป็นของตัวเอง จึงได้อาศัยอาคารต่างๆ เหล่านี้ของโรงพยาบาลจุฬาฯ
และสภากาชาด ซึ่งแสดงให้เห็นได้ถึงการก่อตั้งของคณะที่มีข้อจำกัดอย่างมาก แต่อย่างไรตามเหล่าคณาจารย์
และนิสิตรุ่นบุกเบิกก็สามารถฝ่าฟันอุปสรรคในช่วงดังกล่าวไปได้และพัฒนาคณะมาได้จนทุกวันนี้
อาคารยุคเริ่มต้นเมื่อเปิดคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ก. เรือน ก. กองอาสากาชาด (ก่อน 2475) ใช้เป็นหอพักแพทย์ชาย
ข. เรือนพิพิธภัณฑ์เก่าหรือพิพิธภัณฑ์กาชาดชั้นล่างใช้เรียนมหากายวิภาควิทยา / ชั้นบนเป็นสโมสรนิสิต
อันเป็นจุดกำเนิดวงดนตรีแพทยจุฬาฯ ภาพการเปิดเรียนวันแรกถ่ายที่หน้าตึกนี้
ค1. ตึกสายหยุด บุนนาค (2470) ใช้เป็นห้องพักอาจารย์และที่ทำงาน
ค2. ตึกพระยาไพบูลย์สมบัติ (2473)ใช้เป็นที่พักผู้ป่วย
ง. ตึกผ่าศพ (2461)ใช้เก็บศพและตรวจศพ
จ. โรงเรียนการพยาบาล (ตึกคณะแพทยศาสตร์) (2488) เดิมติดตรามหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ต่อมาเมื่อ
คณะแพทยศาสตร์ ได้โอนมาสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงได้เปลี่ยนเป็นตราพระเกี้ยวปัจจุบัน
คือตึกอานันทมหิดลใช้เป็นห้องบรรยาย, ห้องพักอาจารย์และสำนักงาน
2490-2499 การพัฒนาของคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นับจากการก่อตั้งคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยอย่างเป็นทางการ ในปี 2490 โรงพยาบาลและคณะแพทยศาสตร์
ก็มีการสร้างอาคารอื่นๆ ตามมาอีก ซึ่งนับได้ว่าคณะแพทยศาสตร์ได้ถูกก่อตั้งเป็นรูปเป็นร่างอย่างสมบูรณ์ในช่วงนี้
- ตึกเจ้าจอมเอิบ เปิด พ.ศ. 2492
- ตึกสุภาสจันทรโบ๊ส เปิด พ.ศ. 2492
- ตึกพยาธิวิทยา เปิด พ.ศ. 2493
- ตึกกายวิภาคศาสตร์ เปิด พ.ศ. 2496 (ปัจจุบันคือตึกแพทยพัฒน์)
- เรือนไม้หอพักนักศึกษาแพทย์ชาย เปิด พ.ศ. 2497
- เรือนไม้หอพักนักศึกษาแพทย์หญิง เปิด พ.ศ. 2498
- ตึกหอพักนักศึกษาแพทย์หญิง เปิด พ.ศ. 2500
- โรงอาหารคณะหลังใหม่
- โรงอาหารโรงพยาบาล
- อาคารหอพักแพทย์หญิงและชาย